วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2561

การใช้ EEPROM บันทึกค่าเมื่อหยุดจ่ายไฟให้กับบอร์ด Arduino

Code
#include<EEPROM.h>
void setup() {
Serial.begin(9600);
int num = random(0xFFFF);
EEPROM.write(0, num>>8);
EEPROM.write(1, num&0xFF);
Serial.println("EEPROM Write: " + String(num));
delay(1000);
}
void loop() {
int num = 0;
num |= EEPROM.read(0)<<8;
num |= EEPROM.read(1)&0xFF;
Serial.println("EEPROM Read: " + String(num));
delay(1000);
} อธิบาย EEPROM เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่าน และเขียน ซ้ำได้ประมาณ 1 แสนครั้ง ซึ่งในบอร์ด Arduino แต่ละบอร์ดก็จะ มีขนาดพื้นที่ EEPROM แตกต่างกันไป อย่างในบอร์ด Arduino Uno R3 , Pro Mini , Nano จะมีพื้นที่ให้ใช้งานทั้งหมด 1KB (1,024 ตัวอักษร) ส่วน Arduino Mega 2560 R3 มีพื้นที่ 4KB (4,096 ตัวอักษร) พื้นที่ EEPROM ส่วนใหญ่แล้ว จะนำไปใช้ใน การเก็บค่าคอนฟิกต่างๆที่ได้ทำการตั้งค่าไว้ เมื่อหยุดจ่ายไฟจะไม่ทำให้ข้อมูลหายไป อ้างอิงจากhttps://www.ioxhop.com/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น